เป้าหมาย (Understanding Goal):

เป้าหมาย (Understanding Goal) : มีความรู้ความเข้าใจต่ออาหาร สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยและกิน อยู่ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถออกแบบการกินของอาหารในรูปแบบของตนเอง

(นวัตกรรมและการนำไปใช้ )ได้

Main




Mind Mapping






คำถามหลัก (Big Questions) อาหารมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขได้อย่างไรบ้าง?

ภูมิหลังของปัญหา : 
       การเพิ่มจำนวนของประชากรโลกในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการบริโภคทรัพยากรก็เพิ่มมากขึ้นทุกด้าน ทําให้ความต้องการปัจจัยต่าง ๆ เพื่อการดํารงชีวิตเพิ่มตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย พลังงาน ฯลฯ และในปัจจุบันหลายพื้นทั่วโลกต้องประสบกับภาวะการขาดแคลนอาหาร อาหารไม่ปลอดภัยมีสารปนเปื้อน ดังนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีความพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความปลอดภัยและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อนให้ได้มากที่สุด 


ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : อาหารจานเด็ด (One health)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week
Input
Process
Output
Outcome
12
โจทย์ พลังงานที่ร่างกายต้องการ
- วัดค่าดัชนีมวลกาย
- พลังงานที่ร่างกายต้องการ
Key  Questions :
เราจะหาค่าดัชนีมวลกายได้อย่างไร
นักเรียนจะคำนวณหาค่าพลังงานที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวันได้อย่างไร
- เราจะออกแบบการกินและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับร่างกายตนเองได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Placemat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
 - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- บทความ ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
- คลิป ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
- นักเรียนทบทวนบันทึกตารางการกินขอนตนเอง
- นักเรียนอ่านบทความ ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
- นักเรียนดูคลิป ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
- นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ บทความ และคลิปวีดีโอ
- นักเรียนนำเสนอสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
- นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน (โรคอ้วน) 
- เขียน web เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- นักเรียนชั่งน้ำหนัก  ส่วนสูง แล้วนำมาคำนวณค่าดัชนีมวลกาย พร้อมทั้งหาค่าพลังงานที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวัน
- จัดกลุ่มออกแบบการกินและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- อ่านบทความ ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
- ดูคลิป ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
 - วิเคราะห์ บทความ และคลิปวีดีโอ
 - คำนวณค่าดัชนีมวลกาย พร้อมทั้งหาค่าพลังงานที่ร่างกาย
- ออกแบบการกินและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง
ชิ้นงาน
- web เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้ร่างกายเต็มไปด้วยไขมัน (โรคอ้วน) สามารถคำนวณหาค่าพลังงานที่ร่างกายต้องการ แล้วออกแบบการกินที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
13
โจทย์ ไขมัน
- การตรวจสอบไขมัน
- การสกัดน้ำมันจากธรรมชาติ
Key  Questions :
-
นักเรียนจะมีวิธีการตรวจสอบสารอาหารประเภทไขมันได้อย่างไร?
จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเองได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Placemat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
 - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- น้ำมัน
- กระดาษ A4
- หมูสามชั้น
- มะพร้าวแก่
- อุปกรณ์เครื่องครัว (กระทะ, หม้อ)
- ทดลองหยดน้ำมันพืช, น้ำ 2-3 หยด ลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าดังนี้
1. แหล่งอาหารที่ให้ไขมัน
2. องค์ประกอบและโครงสร้างของไขมันและน้ำ มัน
 3. กรดไขมัน (อิ่มตัว ,ไม่อิ่มตัว
4. สมบัติของไขมันและน้ำมัน
5. ประโยชน์ของไขมันและน้ำมัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น ชาร์ต Power point  Infographic
- นักเรียนสกัดน้ำมันจากธรรมชาติสัตว์และพืช (หมู ,มะพร้าว )
- นักเรียนศึกษาสมุนไพรพื้นบ้านลดไขมันในเลือด อาหารเป็นยาคู่ครัวไทย 
- นำเสนอผลการศึกษาสมุนไพรพื้นบ้านลดไขมันในเลือด
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบการกินอาหารที่ให้พลังงานประเภทไขมันและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- ทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน (น้ำมัน)
-  สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
- การศึกษาค้นคว้าดังนี้
1. แหล่งอาหารที่ให้ไขมัน
2. องค์ประกอบและโครงสร้างของไขมันและน้า มัน
 3. กรดไขมัน
4. สมบัติของไขมันและน้า มัน
5. ประโยชน์ของไขมันและน้ามัน
นำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น ชาร์ต Power point  Infographic
- สกัดน้ำมันจากธรรมชาติสัตว์และพืช
ชิ้นงาน
- น้ำมันจากสัตว์ และพืช
- สรุปความรู้เกี่ยวกับไขมัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้ร่างกายเต็มไปด้วยไขมัน (โรคอ้วน) สามารถคำนวณหาค่าพลังงานที่ร่างกายต้องการ แล้วออกแบบการกินที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
14 - 15
โจทย์ : วิตามินและเกลือแร่
สารอาหารวิตามินและเกลือแร่ และกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ กระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
Key  Question :
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-  เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
-  ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
คอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจพืชผักในโรงเรียนจดบันทึกลงในสมุดบันทึก
- นักเรียนเลือกผักคนละ 1 ชนิด ศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด (ลักษณะพันธุกรรม การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์ สารอาหาร ประโยชน์)
-  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละเท่าๆ กัน ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจัดหมวดหมู่ของพืชผักในโรงเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
 “นักเรียนคิดว่าวิตามินและเกลือแร่ที่ร่างกายต้องการประกอบด้วยอะไรบ้าง และได้มาจากแหล่งใดบ้าง?
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของวิตามิน ( C B A D  E K) แหล่งที่พบ ประโยชน์และการนำไปใช้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
 “นักเรียนจะตรวจสอบปริมาณวิตามินC ในผักและผลไม้ได้อย่างไร?”
- นักเรียนออกแบบการทดลองตรวจสอบหาปริมาณวิตามินในผักและผลไม้
- ครูชวนคุยเกี่ยวกับประโยชน์จากอาหารประเภทผักและผลไม้
- นักเรียนทำน้ำผักและผลไม้เพื่อสุขภาพ
- นักเรียนถ่ายทำรายการผักดีมีประโยชน์
- นักเรียนสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น การ์ตูนช่อง ,  flow chart , Mind mapping ฯลฯ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
- อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- น้ำผักและผลไม้เพื่อสุขภาพ
- สร้างชิ้นงานกระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่จัดอยู่ในประเภทวิตามินและเกลือแร่ ประโยชน์จากอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ที่ค่อยช่วยเป็นตัวเร่งและควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ รักษาความสมดุลของกรด ด่าง และน้ำในร่างกาย ช่วยในการรับ-ส่งประสาทความรู้สึก ควบคุมการรัดหดตัวของกล้ามเนื้อ ตลอดจนช่วยในการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์กิจกรรมตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
16
โจทย์ ระบบต่างๆของร่างกาย
Key  Questions :
-ระบบต่างๆในร่างกายประกอบด้วยระบบอะไรบ้างและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Placemat
- Round Rubin
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
 - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- บทความ ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
- คลิป ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะแทรกซึมอยู่ในส่วนใดบ้างของร่างกาย”
“นักเรียนคิดว่าระบบอะไรบ้างที่ช่วยในการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์”
- แบ่งกลุ่มนักเรียนสืบค้นข้อมูลแต่ละระบบ
 ระบบต่างๆในร่างกาย 10 ระบบ
1.      ระบบผิวหนัง
2.      ระบบกระดูก
3.      ระบบกล้ามเนื้อ
4.      ระบบย่อยอาหาร
5.      ระบบขับถ่าย
6.      ระบบหายใจ
7.      ระบบหมุนเวียนโลหิต
8.      ระบบประสาท
9.      ระบบสืบพันธุ์
10.  ระบบต่อมไร้ท่อ
- นักเรียนนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น โมเดล ,แผนภาพ, Chart , Power point
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายพร้อมกับตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอระบบต่างๆในร่างกาย
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายพร้อมกับตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
- เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
17
โจทย์ :
- การเลือกซื้อ
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Key  Questions :
- นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บทความเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิผู้บริโภค
ภาพเกี่ยวกับผู้ซื้อ เลือกอาหารตามท้องตลาด
ภาพสัญลักษณ์ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- คอมพิวเตอร์
- นักเรียนอ่านบทความเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิผู้บริโภค  
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนศึกษาข้อมูลการเลือกซื้ออาหารประเภทต่าง กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้อสิ้นค้าอย่างปลอดภัย
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.  มีความสำคัญอย่างไรกับผู้บริโภค

ชิ้นงาน
- place mat  การเลือกซื้ออาหารอย่างปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- ชาร์ตเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจการเลือกซื้ออาหารอย่างมีวิจารณญาณ และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
18
โจทย์ : การประกอบอาหาร
Key  Questions :
- นักเรียนคิดว่าอาหาร 1 จาน จะให้พลังงานอะไรแก่เราบ้าง  และเราจะรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนจะจัดเมนูอาหารอย่างไร ให้ได้สารอาหารครบถ้วน โดยใช้วัตถุดิบพื้นถิ่น

เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-  เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
-  ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
คอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
- นักเรียนดูรายการ คนค้นครัว
- ครูนำอาหาร มาให้นักเรียนดู แล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด
 “นักเรียนคิดว่าอาหาร
1 จาน จะให้พลังงานอะไรแก่เราบ้าง  และเราจะรู้ได้อย่างไร?”
 “นักเรียนจะจัดเมนูอาหารอย่างไร ให้ได้สารอาหารครบถ้วน โดยใช้วัตถุดิบพื้นถิ่น
“นักเรียนคิดว่าจะจัดอาหารอย่าไร ให้น่ารับประทาน และนักเรียนจะเพิ่มมูลค่าให้กับอาหารนั้นอย่างไร?”
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน ประกอบเป็นอาหาร นำเสนอเมนูอาหารของตนเอง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหารควบคู่ไปด้วย
- รับประทานอาหารร่วมกันแล้วเสนอความคิดเห็น
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ และการประกอบการอาหารประเภทต่างๆ
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำอาหารลงในสมุดเล่มเล็ก

ภาระงาน
- การวิเคราะห์สารอาหาร
- นำเสนอเมนูอาหาร
- การเตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร
ชิ้นงาน
- เมนูอาหาร
- Flow chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำวัตถุดิบพื้นถิ่นมาประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และได้สารอาหารครบถ้วน
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์กิจกรรมตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


Week
Input
Process
Output
Outcome
19 - 20
โจทย์ : สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้

Key  Questions :
นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้ ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ 
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม

เครื่องมือคิด :
-     Show and Share
-     Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความแสดงความคิดเห็น
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
ภาคเรียนที่ 1 ในรูปแบบที่หลากหลาย( Mind Mapping , ชาร์ท,  Infographic )
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้ราย
นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ 4 คน แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง 
- นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอด Quarter 2
ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้นักเรียนแต่ละคน
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
การเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
การนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว  สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม

ชิ้นงาน
 :
- การตอบคำถาม
- นิทรรศการจัดการเรียนรู้
- Mind mapping หลังเรียน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว - สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้รวมทั้งเผยแพร่องค์ความรู้ที่เรียนมาให้คนอื่นเข้าใจและร่วมเรียนรู้ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต                    
ทักษะการวางแผน
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “One health
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  ภาคเรียนที่ 1/2559
กิจกรรม
Active learning
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
(ส21102)
สังคมศึกษา
(ส21103)
ประวัติศาสตร์
(ส21104)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(ง21102)
สุขศึกษาและพลานามัย
(พ21104)
ศิลปะ
(ศ21102)
หน้าที่พลเมือง
(ส21202)
- อ่านบทความ ปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
- ดูคลิป ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
 - วิเคราะห์ บทความ และคลิปวีดีโอ
 - คำนวณค่าดัชนีมวลกาย พร้อมทั้งหาค่าพลังงานที่ร่างกาย
- ออกแบบการกินและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง
- ทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน (น้ำมัน)
-  สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
- สกัดน้ำมันจากธรรมชาติสัตว์และพืช
- สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
- อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอระบบต่างๆในร่างกาย
- สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- การวิเคราะห์สารอาหาร
- นำเสนอเมนูอาหาร
- เตรียมอุปกรณ์และปรุงอาหาร
- ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- เตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
- นำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
มาตรฐาน ว8.1
สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวsจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.1/1)
สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.1/4)
สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.1/7)
บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.1/8)
สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.1/9)
มาตรฐาน ว 1.1
สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้
(ว1.1ม.1/7)
-  สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท   
ระบบย่อยอาหาร   
ระบบขับถ่ายของเสียได้ (ว1.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 8.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล  
(ว8.1 ม.2/1 )
นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้  (8.1 ม.1/4)
สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้ 
(ว8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
มาตรฐาน ว 3.1
สามารถอธิบายสมบัติและการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร  (3.1ม.1/2)
สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้  (3.1ม.1/1)
สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
 (3.1ม.1/3)
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ 
(2.1ม.3/1)
มาตรฐาน ว 1.1
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช
(ว1.1ม.1/6)
อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์  ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว1.1ม.1/7)    
ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช
(ว1.1ม.1/8)   
สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช (ว1.1ม.1/9)   
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
(ว1.1ม.1/10)    
-อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)     
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส1.1 ม.1/6)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.1/2)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
 (ส 2.1ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/4)
มาตรฐาน ส 3.1
 นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1 ม.1/2)
มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
( 4.1  .1/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
 ( 4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
 เปรียบเทียบความ  เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมการกินของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ 
( 4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง1.1
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน(1.1 .1 /1)
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .1 /2 )
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า ( 1.1 .1/3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3)
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน(ง1.1 .4-6 /4 )
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง1.1 .4 /5 )
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง1.1 .4-6 /6)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้ (ง2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
 ( 3.1 ม.1/2)
สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้(ง 3.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1 
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
 เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ
(ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
 (ง.4.1ม.3/ 3)
มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(ง.3.1ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ
(ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง.4.1ม.3/ 3)
มาตรฐาน  พ 1.1
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ 
(พ 1.1 .1/2)
มาตรฐาน   2.1
 เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1 .3/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  ( 3.1 .3/2)
มาตรฐาน  3.2
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง  ( 3.2 ม.1/2)
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ 
(3.2 ม.3/3)
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน พ 1.1
สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น   ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ   ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ1.1 .1/1)
 - สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ1.1 .1/2)
สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้
(1.1 .1/3, 4)
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ 
( 1.1 .2/1)
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ1.1.2/2)
สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้ 
(1.1 .3/1)
สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้  ( 1.1 .4-6/2)
สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย   จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
  ( 2.1.1/1)
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้ (พ.3.2 ม.2/ 3)
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
มาตรฐาน ศ1.1
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก และวรรณะสี   สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ 
( 1.1 .1/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 .1/1)
สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
(ศ 1.1ม.1/2)
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
ในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ
(ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้  ( 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
-  สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ3.2 ม.1/1)
มาตรฐานศ1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
ในการสื่อความหมาย
และเรื่องราวต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย ในการสื่อความหมาย
และเรื่องราวต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมาย   และเรื่องราวต่าง ๆ
(ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
จุดเน้นที่ 1
สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
( 2.1  .1/1)
เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
( 2.1  .1/2)
วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
( 2.1  .1/3)
สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
( 2.1  .2/4)
สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
( 2.1  .3/5)
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน ( 2.2  .1/2)
จุดเน้นที่ 2
สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
( 2.1  ม.1/1)
เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
( 2.1  ม.1/2)
วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
( 2.1  ม.1/3)
จุดเน้นที่ 3
สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย( 2.1  ม.1/3)





web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้



ตารางความสัมพันธ์ Core Subject
หน่วย : “One health
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2559

สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
สิ่งแวดล้อม
หน้าที่พลเมือง
-  ร่างกายต้องการสารอาหารครบถ้วนตามหลักโภชนาการ 
-  อาหารปลอดภัย
-  สุขภาวะที่ดีส่งเสริมสุขภาพที่ดีด้วย
-  อาหารไม่ปลอดภัย ไม่สะอาด มีสารปนเปื้อนก่อให้เกิดการเจ็บป่วย
-  ความต้องการอาหารของร่างกายในแต่ละช่วงวัย เพศ และรูปร่าง ล้วนแตกต่างกัน
-  การออกกำลังกายเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการมีสุขภาพที่ดี
-  ฐานะทางเศรษฐกิจและระดับการศึกษาของประชาชนส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
-    การผลิต ความต้องการอาหารในปริมาณมากและมีความหลากหลาย
-    ปัจจัยและพฤติกรรมในการเลือกบริโภค สะดวก สบาย
-    ปัญหาการทางธุรกิจ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องการผู้ผลิตและผู้บริโภค
-    การจัดการ การเพิ่มมูลค่าสินค้า
 - การผลิตและการแข่งขันทางการค้า   การใช้บริการที่ทั่วถึง มีการกระจายสินค้า และโฆษณา
-     ความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ อาหารที่ปนเปื้อนแล้วยังอาจได้รับสารพิษทางห่วงโซ่อาหาร จากการที่พืชได้รับสาร มลพิษจากอากาศ ดิน หรือน้ำแล้วเก็บสะสมไว้ 
-     มีกระบวนการผลิตที่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่มีการกำจัดขยะหรือของเสียที่เป็นพิษ ขาดการจัดการที่ดี
-     ก๊าซเรือนกระจกนอกจากจะทำอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์โดยตรงแล้ว ยังมีผลต่อพืชและสัตว์ที่มนุษย์ใช้เป็นอาหาร จึงมีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ
-     แหล่งอาหารที่เกิดจากธรรมชาติที่สมดุล
-     แหล่งอาหารธรรมชาติน้อยลง ทำให้มนุษย์ต้องมีอุตสาหกรรมมารองรับและทำให้เกิดมลพิษ และผลกระทบอื่นๆ ตามมา
-     ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
-     เคารพ และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายได้
-     การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธีในการอยู่ร่วมกัน
-     มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกา การมีสัมมาคารวะ)
-     ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ และรับผิดชอบต่อสังคม
-     ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย